Individual Design Project ส.1 (การสืบค้น)



                        

                                   ส.1 การสืบค้นของร้านคู่แข่ง ร้านรำมะสัก
        การออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์สินค้าสำหรับสินค้าของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรำมะสัก ที่อยู่ 136 หมู่ที่ 5 ชื่อหมู่บ้าน- ถนน- ซอย - ตำบล รำมะสัก อำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัด อ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14120 โทรศัพท์ 081-9462651 , 08-9504-6339


............................................................................................



แบบสรุปผลการสัมภาษณ์และผลการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นทางการออกแบบ
            การออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ด้านสมุนไพรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัด อ่างทอง
            วันที่18 /…10../ ...58....เวลา10.58......เขตอำเภอ………อ่างทอง………….รหัส ……14120………
( / ) ผู้ประกอบการSMEs  ประเภท (  / ) 1. กิจการผลิต  (  ) 2. กิจการค้า  (  ) 3. กิจการบริการ
(   ) ผู้ประกอบการรายเดียว ( / )ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน(CE) ประเภท (  ) 1.อาหาร  (  )
2.เครื่องดื่ม (  ) 3. เครื่องนุ่งหม (  ) 4. ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก ( / ) 5.สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร

1.ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ
ชื่อ/ผู้ให้สัมภาษณ์/ผู้ให้ข้อมูล.............นางมาลัย …...............อายุ....43....ปี
ตำแหน่งงาน...เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป.. ประสบการณ์ทำงาน.......20......ปี
ชื่อประธานกลุ่ม/เจ้าของกิจการ/ผู้มีอำนาจตัดสินใจ......นางมาลัย …...
กรุณากรอกข้อมูลเป็น  ภาษาอังกฤษไทย ( Thai Information ) ชื่อที่ระบุเป็นผู้ผลิต/ผู้จำหน่าย/ผู้ประกอบการ/ชื่อองค์กร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มงานโครงการ/กลุ่มแม่บ้าน/บุคคล/ ...กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรำมะสัก.....ที่อยู่ สถานประกอบการเลขที่136หมู่ที่5…. ชื่อหมู่บ้าน……-……ถนน.......-..... ซอย.........-......ตำบล………รำมะสัก……..อำเภอโพธิ์ทอง....... จังหวัด…...อ่างทอง……... รหัสไปรษณีย์14120
โทรศัพท์สถานประกอบการ....… 081-9462651 , 08-9504-6339.........
กรุณากรอกข้อมูลเป็น  ภาษาอังกฤษ ( English information )
ชื่อที่ระบุผู้ผลิต/จำหน่าย/ผู้ประกอบการ/ชื่อองค์กร/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/กลุ่มงานโครงการ/กลุ่มแม่บ้าน/บุคคล/ ........Community Enterprise Ram Ma Sak ……ที่อยู่ สถานประกอบการเลขที่……136……หมู่ที่5….
ชื่อหมู่บ้าน……- ……...ถนน.........-........ซอย........-.........ตำบล……Ram Ma Sak………
อำเภอ……-………..จังหวัด……Ang Thong….รหัสไปรษณีย์ ……..14120…...
โทรศัพท์สถานประกอบการ....... 081-9462651, 08-9504-6339.........
เบอร์มือถือส่วนตัวผู้ติดต่อ/ผู้ให้สัมภาษณ์/ผู้มีอำนาจตัดสินใจ035-644393…….
ที่อยู่อีเมล์ส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์/ประสานงาน…………-……
ที่อยู่อีเมลทางธุรกิจปัจจุบันของสถานประกอบการ…………-………
ที่อยู่เว็ปไซต์ทางธุรกิจของสถานประกอบการ……………-………………......
วิธีการติดต่อ/สื่อสารที่สะดวกทางโทรศัพท์……โทรศัพท์08-9504-6339……
ชื่อ Line ID…………-…………….
เริ่มประกอบการตั้งแต่ เมื่อ………-……...…
มีเอกสาร/ข้อมูลแนบให้คือ ( /  ) นามบัตร (  /  ) แผ่นพับ (  ) CD
ตราเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนหลัก(Trademark/BrandName)คือ………รำมะสัก……………
(  ) มี ( / ) ไม่มี ไฟล์ต้นแบบอาร์ตเวิร์ค
2.ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ต้องการพัฒนาศักยภาพ
ชื่อผลิตภัณฑ์ที่ต้องการให้พัฒนา ศักยภาพ
            ( / ) ผลิตภัณฑ์เดิมคือ…….......................................
 ( / )ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ต้องการออกแบบใหม่คือ……...............................
( / ) ต้องการออกแบบพัฒนาด้านโครงสร้างบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้า
( / ) ต้องการออกแบบพัฒนาด้านกราฟิกอัตลักษณ์เพื่อการสื่อสารองค์กรและผลิตภัณฑ์
3.รายละเอียดข้อมูลสำหรับการพิมพ์ การสื่อสารและการโฆษณาผลิตภัณฑ์สินค้า (กรุณากรอกข้อมูลในทุกภาษาที่ต้องการใช้งานพิมพ์บนผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์จริง ตามคุณลักษณะสินค้าของท่านที่มีอยู่แล้วและหรือตามที่ต้องการให้มี)
ชื่อผลิตภัณฑ์ภาษาไทย .........ลูกประคบสมุนไพร.............
ชื่อผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ(Product Name)....... Herbal Compress  .......
ชื่อผลิตภัณฑ์ภาษา............ไทย............
คำอธิบายเกี่ยวกับตัวสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ( Product Info for Print)
ข้อความโฆษณา (Slogan) ภาษาไทย ............คลายความปวดเมื่อยให้หมดไป..............
ภาษาอังกฤษ...........................-................................................
ภาษา................................-...........................................
สรรพคุณ/ความดี/ระดับคุณภาพของสินค้า (Benefit/grade/Level ) ไทย/อังกฤษ ….ใช้ประคบเพื่อลดอาการกล้ามเนื้อเกร็ง ช่วยให้การไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น บรรเทาอาการเหน็บชา สะดวกในการใช้และการพกพาส่วนประกอบที่สำคัญ( Ingredients) ไทย/อังกฤษ
.....ว่านนางคำ, ใบมะขาม,  ขมิ้นชัน/ขมิ้นอ้อย,  ผิว/ใบมะกรูด,  เถาวัลย์เปรียง,  ใบเตย/ใบยูคาลิปตัส,  ใบส้มป่อย
,  เกลือ/การบูร/พิมเสน…………
ข้อมูลสำคัญประกอบตัวสินค้า/ข้อมูลทางโภชนาการ(Specifications/Nutrition information)
 ไทย/อังกฤษ
.........................................................................................................................................................
คุณค่าทางสมุนไพร
.......ทุกตัวสมุนไพรให้คุณค่ามากมายเช่น ว่านนางคำ, ใบมะขาม,  ขมิ้นชัน/ขมิ้นอ้อย,  ผิว/ใบมะกรูด,  เถาวัลย์เปรียง,  ใบเตย/ใบยูคาลิปตัส,  ใบส้มป่อย,  เกลือ/การบูร/พิมเสน สามารถช่วยลดอาการกล้ามเนื้อเกร็ง ช่วยให้การไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น บรรเทาอาการเหน็บชา…………
วิธีการใช้งานและการเก็บรักษา(Usage/Storage) ไทย/อังกฤษ
 วิธีการใช้งาน..........แช่น้ำ 3 นาที แล้วนำไปนิ่ง พออุ่นก็นำมาประคบได้……
 วิธีการเก็บรักษา......หลังจากนำไปใช้ แล้วปรกติจะใช้ได้3-5วัน ควรใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น................................
ข้อมูลประวัติการผลิตสินค้า (History)ลักษณะที่โดดเด่นของลูกประคบสมุนไพร คือใช้สมุนไพรที่ปลูกเอง และขั้นตอนตามธรรมชาติที่สดใหม่ ปราศจากยาค่าแมลง มีการควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ
………..
4.ตราสัญลักษณ์ละมาตรฐานต่างๆที่ได้รับและยังมีสิทธิ์อนุญาตการนำมาใช้
4.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน(มผช) ทะเบียนเลขที่……… 1-15-04-05/1-0001……
ช่วงปีที่ได้รับอนุญาตใช้ พ........22 .. 2556.........ถึง พ.............21 .. 2559..........
4.2 เครื่องหมายโอทอป ระดับดาวโอทอป4.…ดาว  เมื่อปีพ..……๒๕๕๕……
4.3 ตราสัญลักษณ์มาตรฐานสินค้าประจำจังหวัด.................อ่างทอง..............................
เลขที่ใบรับรอง………47993-326/176……………
4.4 ทะเบียนฉลากยา(อย).สำหรับสินค้า...............-..................หมายเลข...............-...................
ทะเบียนฉลากยา(อย).สำหรับสินค้า................-....................          หมายเลข...............-....................
4.5 เครื่องหมายฮาลาล สำหรับสินค้า...............-....................         หมายเลข...............-....................
4.6 เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
สำหรับสินค้า...............-....................หมายเลข...............-...................
4.7.เครื่องหมายรหัสแท่ง (Bar Code) 13 หลัก EAN
สำหรับสินค้า...............-...................
เลขรหัส  |…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|…...|
4.8 เครื่องหมายรหัส QR ข้อความที่ใช้คือ
...............-....................
4.9 เครื่องหมายมาตรฐานการผลิตผลิต (GMP.) ...............-....................หมายเลข...............-....................
ข้อมูลอื่นๆที่ต้องการสื่อสารกับลูกค้า หรือเพื่อการพัฒนาศักยภาพ
……ต้องการแบรนด์สินค้าอยู่บนตัวลูกประคบและต้องการบรรณจุภัณฑ์ที่เป็นกล่องเพื่อสร้างความโดดเด่นและสวยงามในการจำหน่ายและสะดวกในการจัดส่งไปถึงลูกค้า คาดว่าทำให้มีความสนใจและต้องการจะซื้อสินค้าของทางร้านมากขึ้นและสามารถต่อยอดไปถึงสินค้าตัวอื่นๆได้อีกด้วย…………
5.ไฟล์ภาพประกอบและกราฟิกที่จำเป็นต้องมีและใช้พิมพ์บนผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์จริง
ผู้ประกอบการต้องมอบไฟล์ต่างๆ(ที่มีตามข้อ 4 )ให้แก่ทีมที่ปรึกษาออกแบบ เพื่อใช้ประกอบงานออกแบบต้นแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อไม่ให้ตราสัญลักษณ์และกราฟิกอัตลักษณ์เดิมที่มีใช้งานจริงของท่าน ไม่ผิดเพิ้ยน ซึ่งจะมอบคืนให้พร้อมต้นแบบใหม่ที่ได้ออกแบบให้ ไฟล์ที่จำเป็นใช้ได้แก่ (ถ้ามี)
5.1 (  ) ไฟล์แบบตัวพิมพ์ที่ซื้อลิขสิทธิ์ (Corporate Font License) แล้ว  (  ) มี ( / ) ไม่มี
ฟ้อนต์ที่ใช้พิมพ์ โลโก้ และหรือข้อความต่างๆทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ) มีดังนี้คือ ( หากไม่มี ผู้ออกแบบจะจัดหาและใช้ฟ้อนต์ฟรี ของไทย TH fonts และ free commercial fonts ตามที่จะสามารถจัดหาให้ได้)
ชื่อ Font filesที่มีลิขสิทธิ์……………-……………
5.2( )ไฟล์ตราสัญลักษณ์ เครื่องหมายการค้า ( Brand/Logo/Trademark Symbol) Image file Resolutions 300 dpi,  .psd .jpg ,Vector filetype .ai,.cdr  (  ) มี  (  / )ไม่มี
ไฟล์…………………………………………………………………….............................................
5.3 (   ) ไฟล์ภาพประกอบบนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ขนาดไฟล์ภาพ 3 ล้านพิเซลส์ขึ้นไป  ( ) มี (  / ) ไม่มี
5.4 (   ) จะส่งมอบไฟล์ต่างๆให้ทางอีเมล/line/ Online  Contact กับทีมที่ปรึกษา ผศ.ประชิด ทิณบุตร Email :  prachid2009.@gmail.com
อีเมลผู้ประกอบการ............Haruthai_keaw@hotmail.com.................
(แนะนำให้ใช้อีเมลบริการฟรีของ google หรือ @gmail.com)
6. ภาพรวมความต้องการงานออกแบบ (Design Brief)
กรุณาเลือกระดับภาพรวมของอารมณ์และความรู้สึกของท่าน ที่ต้องการให้ออกแบบใหม่(New Design) การพัฒนาแบบตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ( Re design)
Mood & Feel (อารมณ์และความรู้สึกที่ต้องการให้ออกแบบหรือพัฒนา) กรุณา เลือกกำหนดค่าระดับความต้องการสื่อสารจากค่าน้อยไปหามาก นับจากจุดกลาง ไปทางซ้ายหรือขวา ด้านใดด้านหนึ่ง ค่าระดับ 0 คือค่าเลือกที่เป็นกลาง

 
ความต้องการแบบ
4
3
2
1
0
1
2
3
4
ความต้องการแบบ
Elegant (หรูหรา)

 






Bold (แรง เข้มแข็ง)
Playful (เรียบง่าย สบาย)








Serious (จริงจัง หนักแน่น)
Traditional(ตามแบบอย่าง)








 /
Modern (ใหม่ /ดูทันสมัย)
       Personable (ง่าย ส่วนตัว)






 /


Professional (แบบมืออาชีพ)
        Feminine(แนวผู้หญิง)


 / 

 




Masculine (แนวผู้ชาย)
       Colorful (หลากสีสันสนุก)

 /







Conservative (เชิงอนุรักษ์)
      Economical(ถูก-ประหยัด)

 /







Upmarket (แพง-ตลาดบน)
 

                        ท่านต้องการงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Media) สื่อส่งเสริมการขาย ( Promotion Media) และสื่อการสร้างประสบการณ์ร่วมในตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ ดังนี้คือ
(   ) ต้นแบบตราสัญลักษณ์ เพื่อการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ที่จะใช้กับสินค้าหรือบริการ
(  ) สื่อสิ่งพิมพ์(Printed Media) เพื่อการสื่อสารและการบริหารจัดการธุรกิจทั้งภายในและภายนอกในองค์กร
(   ) สื่อส่งเสริมการขายสินค้าและการบริการ ( Promotional Media)
(  ) สื่อการสร้างประสบการณ์ร่วมในตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ ( Brand Experience /Brand Image Media)
7.วิธีการขนส่ง วิธีการจัดจำหน่ายและการส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์สินค้า
7.1 ต้องการออกแบบให้เหมาะสมกับการขนส่งภาย ในประเทศ โดยทาง (  ) รถยนต์ ( ) รถไฟ (  ) เรือ (  ) เครื่องบิน            มิติการขนส่ง ขนาด กว้าง...................ยาว...................สูง...................
7.2 ต้องการออกแบบให้เหมาะสมกับการขนส่งต่างประเทศ โดยทาง (  ) รถยนต์ (    ) รถไฟ (  ) เรือ(  ) เครื่องบิน มิติการขนส่ง ขนาด กว้าง...................ยาว...................สูง...................
วิธีการจัดจำหน่าย ( / ) จัดขายเฉพาะงาน ( / ) ขายส่งต่อคนกลาง ( / ) ขายประจำ ณ ที่ทำการกลุ่ม (  ) ขายฝากร้านขายของชำทั่วไป/ห้างร้าน/ห้างสรรพสินค้าชื่อ………………………..
(  ) มีร้านค้า-ที่ทำการ ชื่อ..................-...................
7.3 การซื้อ-ขาย / วิธีการจัดจำหน่ายในประเทศ/ การส่งออกต่างประเทศ
 ( / ) ดำเนินการเอง  (  ) ผ่านคนกลาง (  ) ห้าง/ร้าน……………………................................
 ( / ) ผ่านทางออนไลน์ติดต่อผ่านอีเมล /facebook /เว็ปไซต์
7.4 ราคาจำหน่ายสินค้า
             -ชื่อผลิตภัณฑ์/สินค้า……ลูกประคบสมุนไพร………
              ราคาขายปลีก …......40.... บาท / .…200......กรัม/ชิ้น / ราคารวมหน่วย หน่วย...........กรัม/ชิ้น/
              ขายส่ง/ส่วนลด............45............
                        มีกิจกรรม
8.ปัจจุบันสภาพ /ปัญหาที่เกิดขึ้น /ความต้องการพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์
( Problem Situations / Swot Analysis)
            การวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน/ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการดำเนินธุรกิจ ในฐานะของผู้ประกอบการ(ด้านการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์)
            จุดอ่อน……บรรจุภัณฑ์สินค้าเหมือนกันส่วนใหญ่ ไม่มีโลโก้เป็นของสินค้าตัวเอง รูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ดูไม่มีความโดดเด่น ดึงดูดลูกค้า ไม่มีตัวอักษรภาษาอังกฤษบนตัวบรรจุภัณฑ์ที่กำลังเข้าสู่อาเซียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
            จุดแข็ง……มีสูตรเฉพาะทุกตัวสินค้าในการผลิตจากต้นตระกูล………
            อุปสรรค………คู่แข่งทางการค้าเยอะ ราคาต้นทุนในการผลิตสูง สื่อโฆษณาประชาพันธ์น้อย ตัวฟอนต์บนสินค้าดูไม่น่าสนใจ สะดุดตาลูกค้า………………………………………………………………………………………………
            โอกาส.ต่อยอดทางการค้าให้กว้างขวางยิ่งขึ้นและอยากเพิ่มสถานที่ในการจัดจำหน่ายตามสถานที่เหมาะสมหรือก็กระจายไปยังจังหวัดต่าง ๆ ปรับเปลี่ยนให้สินค้าดูมีเอกลักษณ์มากขึ้น…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(   ) ได้มอบ (  )ให้ยืม ( / ) ซื้อ ตัวอย่าง/สินค้า   ให้ทีมที่ปรึกษาเพื่อศึกษา-ออกแบบ จำนวน....2...รายการ คือ
…………..ลูกประคบสมุนไพร………
………….สบู่มะหาด………
……………………………………
9.วาดแผนที่ตั้งสถานประกอบการ/สำนักงานขาย/สถานที่จัดจำหน่าย/หรือสถานที่เข้าร่วมปรึกษา และแจ้งแนวคิด-ความต้องการพัฒนา-ให้เป็นโจทย์เพื่อการออกแบบพัฒนาไว้เพิ่มเติม
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


อธิบายบอกเพิ่มเติม
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรำมะสัก36 หมู่ที่ 5 ชื่อหมู่บ้าน- ถนน- ซอย - ตำบล รำมะสัก อำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัด อ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14120  โทรศัพท์ 081-9462651 , 08-9504-6339
ชื่อผู้บันทึก  นางสาว สุกัญญา มาตผล........วันที่ …..13..../.......10....../............2558..........
ลงชื่อ.......................................................................... ทีมที่ปรึกษาด้านออกแบบพัฒนา
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์/ผู้ประกอบการ....................นางมาลัย....................
ลงชื่อ...................................ตำแหน่ง.................................

วันที่ …..../............../........... เวลา………14:00……………





...........................................................





ชื่อสินค้า : ลูกประคบ สมุนไพร รำมะสัก
ประเภทสินค้า : สุขภาพ

สถานะผลิตภัณฑ์ : ของแข็ง
ส่วนประกอบสำคัญ : ไพล, ขมิ้น, ตะไคร้หอม, การบูร
วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ : แช่น้ำ 3 นาที แล้วนำไปนิ่ง พออุ่นก็นำมาประคบได้ 
สีบรรจุภัณฑ์ : สีข้าว
ขนาด/มิติ : กว้าง 3.5 cm สูง 6 cm 
ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรำมะสัก 136  หมู่ที่ 5 ชื่อหมู่บ้าน- ถนน- ซอย - ตำบล รำมะสัก               อำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัด อ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14120  
เบอร์โทรศัพท์ : 081-9462651 , 08-9504-6339
Hompage : ไม่มี
Facebook : ไม่มี
ขั้นตอนการผลิต : - 
ราคา : 40 ขายส่ง : 45 / 200 กรัม.

2. โครงสร้างหลักของตัวบรรจุภัณฑ์

เทคนิคการบรรจุ : ใช้ได้ง่าย สะดวก
ขนาด / มิติ : กว้าง 4.5 cm สูง 7 cm
บรรจุภัณฑ์ทำจาก : พลาสติก
การขึ้นรูปทรง : -

3.การออกแบบกราฟิก
ระบบการพิมพ์ที่ใช้ : -
สี / จำนวนสีที่พิมพ์ : สีดำ  สีเขียวอ่อน,เข้ม 
โลโก้ : ใช้ฟอนต์
ลวดลาย :-
พื้นหลัง : สีเขียวอ่อน
ข้อความบนฉลากสินค้า : ลูกประคบ สมุนไพร รำมะสัก
ส่วนประกอบ -
วิธีการใช้งาน : แช่น้ำ 3 นาที แล้วนำไปนิ่ง พออุ่นก็นำมาประคบได้ 
วิธีการเก็บรักษา : หลังจากนำไปใช้ แล้วปรกติจะใช้ได้3-5วัน ควรใส่ถุงพลาสติกเก็บไว้ในตู้เย็น
ส่วนประกอบสำคัญ : ไพล, ขมิ้น, ตะไคร้หอม, การบูร
เลขที่จดแจ้ง -
ผลิตและจัดจำหน่ายโดยผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรำมะสัก 136  หมู่ที่ 5 ชื่อหมู่บ้าน-               ถนน- ซอย - ตำบล รำมะสัก อำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัด อ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14120  
แบบอักษรที่ใช้ : ยังไม่ทราบข้อมูลแน่ชัดเนื่องจากทางผู้ผลิตจ้างบริษัทเป็นผู้ออกแบบ
โลโก้ชื่อสินค้า : “รำมะสัก”
โลโก้ผู้ผลิต : -



                                                          ...........................................................



การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนประกอบของสินค้าและบรรจุภัณฑ์
ด้วยวิธีการรับรู้ทางการมองเห็น




1. ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า(Logotype)
2. สื่อรูป-กราฟฟิกภาพ-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
3. ข้อความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
4. ข้อมูลบอกสรรพคุณ
5. ข้อมูลบอกวิธีใช้-การเก็บรักษา
6. ตราสัญลักษณ์ขององค์กรที่ให้การสนับสนุนข้อความแจ้งที่ผลิตและการติดต่อ
7. ข้อมูลแจ้งวันเดือนปีผลิตและวันหมดอายุ
8. ปริมาตรสุทธิ
9. ข้อมูลผลิตโดย
10. บาร์โค้ด



                                                        ...........................................................


ข้อมูลและขั้นตอนการทำลูกประคบ



                  “ลูกประคบสมุนไพร” จากภูมิปัญญาของคนในสมัยโบราณและหมอพื้นบ้าน ที่ต้องการบรรเทาอาการปวดเมื่อยของคนในครอบครัวและมีความรู้เรื่องสมุนไพรของหมอพื้นบ้านประจำถิ่น จึงได้พัฒนารูปแบบของการนวดคลึงมาสู่การนำสมุนไพรหลายชนิดมารวมกัน เพราะส่วนใหญ่จะเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ไขข้อ มีน้ำมันหอมระเหยเมื่อถูกความร้อนจะระเหยออกมาซึมเข้าตามรูขุมขน และสมุนไพรที่เป็นพื้นฐาน เช่น ไพล ขมิ้นชัน ตะไคร้ ผิวมะกรูด ฯลฯ ซึ่งมีในชุมชนที่ปลูกกันทั่วไปมาแปรรูป และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้ จึงได้รวมกลุ่มกันผลิตสมุนไพรลูกประคบ ซึ่งปรุงตามองค์ความรู้จากบรรพบุรุษสู่รุ่นลูกหลานสืบทอดมาจนถึงปัจจุบันและพัฒนาสู่ สปา สถานเสริมความงาม สถานที่นวดแผนโบราณ และตามห้างสรรพสินค้าต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการใช้และเก็บรักษา




ส่วนประกอบหลัก


ไพล

           ไพล หรือ ว่านไพล ชื่อสามัญ Phlai, Cassumunar ginger, Bengal root
           ไพล ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber cassumunar Roxb. (ชื่อพ้อง Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr., Z. purpureum Roscoe ) จัดอยู่ในวงศ์ ZINGIBERACEAE

ลักษณะของไพล
            ต้นไพล ลักษณะไพลเป็นไม้ล้มลุกมีความสูงประมาณ 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เปลือกมีสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อด้านในมีสีเหลืองถึงสีเหลืองแกมเขียว แทงหน่อ หรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอ โดยจะประกอบไปด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกันอยู่ เหง้าไพลสดฉ่ำน้ำ รสฝาด เอียด ร้อนซ่า มีกลิ่นเฉพาะ ส่วนเหง้าไพลแก่สดและแห้งจะมีรสเผ็ดเล็กน้อย ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด แง่งหรือเหง้า แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ส่วนของเหง้าเป็นท่อนพันธุ์ในการเพาะปลูก

สรรพคุณของไพล
         ช่วยช่วยรักษาโรคเหน็บชา

         รักษาโรคผิวหนัง

        ไพลมีฤทธิ์ในการช่วยต้านเชื้อรา เชื้อจุลินทรีย์ และเชื้อแบคทีเรีย

        ไพล สรรพคุณของเหง้าช่วยรักษาฝี



ขมิ้นชัน



           ขมิ้นชัน (อังกฤษ: Turmeric) เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้าเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด มีชื่อสามัญอื่นอีกคือ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่) ขมิ้นชัน (กลาง, ใต้) ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่) ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขี้มิ้น (ตรัง, ใต้) ตายอ (กะเหรี่ยง กำแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ หมิ้น (ตรัง, ใต้)

วิธีใช้ประโยชน์

              แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่น จุกเสียด อาหารไม่ย่อย อาการแสบคัน แก้หิว และแก้กระหาย ทำโดยล้างขมิ้นชันให้สะอาด ไม่ต้องปอกเปลือกออก หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดดจัดสัก 1-2 วัน บดให้ละเอียดผสมกับน้ำผึ้งปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย กินครั้งละ 2-3 เม็ด วันละ 3 -4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน แต่บางคนเมื่อกินยานี้แล้วแน่นจุกเสียดให้หยุดกินยานี้



สรรพคุณของขมิ้น


               สรรพคุณของขมิ้น ช่วยแก้โรคผิวหนังผื่นคันบำรุงธาตุ







ตะไคร้


              ชื่ออังกฤษ: Lapine, Lemon grass

              ชื่ออื่น: คาหอม (แม่ฮ่องสอน), ไคร (ภาคใต้), จะไคร (ภาคเหนือ), เชิดเกรย, หัวสิงไค, เหลอะเกรย, สะเหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์)

ลักษณะของตะไคร้

            ต้น ตะไคร้เป็นไม้ล้มลุกจำพวกหญ้ามีอายุนานหลายปี แตกหน่อออกจนอยู่เป็นกอหนาแน่นขนาดใหญ่ ลำต้นตรงสูง 1 -2 เมตร สีเขียวอ่อนมีนวลขาว ประกอบด้วยกาบใบซ้อนเป็นชั้นๆ อัดแน่น มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ใบ ยาวเรียวแหลมและสาก ขอบใบเรียบและคม สากมือทั้งสองด้าน เวลาจับหรือตัดต้นตะไคร้ต้องระวังเพราะใบจะบาดผิวหนังได้ง่าย ลำต้นและใบมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว

           ดอก เป็นพืชที่ออกดอกยาก ดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ ผลมีขนาดเล็ก ส่วนที่นำมาใช้เป็นยา คือ ลำต้นมีรสเผ็ดร้อนฉุนและเฝื่อน ใช้รักษาท้องอืด ขับปัสสาวะ แก้กลากประโยชน์ทางยาของตะไคร้

การใช้แก้อาการท้องอืด แน่นจุกเสียด

           นำตะไคร้ทั้งต้นรวมทั้งรากจำนวน 5 ต้น สับเป็นท่อนต้มกับน้ำ ต้มน้ำจาก 3 ส่วน ให้เหลือน้ำ 1 ส่วน ดื่มครั้งละ 1 ถ้วยแก้ว ดื่มประมาณ 3 วัน จะหายดีนำลำต้นแก่สดๆ ทุบพอแหลกประมาณ 1 กำมือ (40-60 กรัม) ต้มเอาน้ำดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยแก้ว ดื่มประมาณ 3 วันตะไคร้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืชใช้ในการดับกลิ่นเหม็น ไล่แมลง ยุง ไร มีวิธีใช้ดังนี้นำตะไคร้ทั้งต้นมาบดหรือตำ จากนั้นนำไปวางบริเวณทีต้องการกำจัดกลิ่น เช่น ตามมุมห้อง หรือตู้เสื้อผ้า ช่วยใน การไล่แมลง และยุง จากบริเวณที่ต้องการได้



การบูร




ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา:

           ตำรายาไทย เนื้อไม้ นำมากลั่นจะได้ “การบูร” รสร้อนปร่าเมา ใช้ทาถูนวดแก้ปวด แก้เคล็ดบวม ขัดยอกแพลง แก้กระตุก แก้ปวดข้อ แก้ปวดเส้นประสาท แก้รอยผิวหนังแตก แก้พิษแมลงต่อย และโรคผิวหนังเรื้อรัง เป็นยาระงับเชื้ออย่างอ่อน ขับเหงื่อ ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ แก้ไข้หวัด และขับลม บำรุงธาตุ บำรุงกำหนัด ยากระตุ้นหัวใจ บำรุงหัวใจ เป็นยาชาเฉพาะที่ เป็นยาระงับประสาท แก้อาการชักบางประเภท ใช้ผสมเป็นยาเพื่อป้องกันแมลงบางชนิด เปลือกและราก กลั่นได้การบูร ใช้ 1-2 เกรน แก้ปวดขัดตามเส้นประสาท ข้อบวมเป็นพิษ แก้เคล็ดบวม เส้นสะดุ้ง กระตุก ขัดยอกแพลง แก้ปวดท้อง ท้องร่วง ขับน้ำเหลือง แก้เลือดลม บำรุงกำหนัด ขับเหงื่อ ขับเสมะหะ บำรุงธาตุ แก้โรคตา กระจายลม ขับผายลม นำมาผสมเป็นขี้ผึ้ง เป็นยาร้อน ใช้ทาแก้เพื่อถอนพิษอักเสบเรื้อรัง ปวดยอกตามกล้ามเนื้อ สะบักจม ทรวงอก ปวดร้าวตามเส้นเอ็น โรคปวดผิวหนัง รอยผิวแตกในช่วงฤดูหนาว แก้พิษสัตว์กัดต่อย


............................................................




ขั้นตอนการทำ











ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558

                     1. นำส่วนผสมมารวมกันหลังจากหั่นเป็นชิ้นเล็กๆโขลกพอเเหลกใส่เกลือ พิมเสน การบูร คลุกให้เข้ากัน





ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558

                 2. นำส่วนทั้งหมดมาวางตรงกลางของผ้าและเริ่มต้นในการจับมุมผ้าทีละ 2 มุม ขึ้นมาทบกัน จับจนครบทั้ง 4 มุม







                3. แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียวจากนั้นค่อย ๆ จัดแต่งลูกประคบให้เป็นรูปทรงกลมที่สวยงาม มัดด้วยเชือกที่ทำเป็นห่วงคล้อง แล้วมัดปมให้แน่น






4. การทำด้ามจับ โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซ้อนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้วพับเข้าหากันเพื่อเก็บซ่อนชายผ้าทั้งสองด้าน






    
ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558








ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558


            5. จัดแต่งและซ่อนชายผ้าเรียบร้อยแล้ว ให้พับปลายลงมาพอประมาณ ม้วนทบด้ามให้เรียบร้อย ใช้ปลายเชือกเส้นเดิมผูกแบบเงื่อนตายให้แน่น






ที่มา : นางสุกัญญา มาตผล , 2558


6. ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับ และเพื่อให้ลูกประคบมีความแข็งแรงสวยงาม คงทนต่อการใช้งาน การทำเช่นนี้จะทำให้เชือกเรียงกันดูสวยงามและเป็นระเบียบ





............................................................

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น